ข่าว: ข่าวประกาศ

  • 21 เมษายน 2024, 05:10:15

เข้าสู่ระบบด้วยชื่อผู้ใช้ รหัสผ่าน และระยะเวลาในเซสชั่น

แสดงกระทู้

This section allows you to view all posts made by this member. Note that you can only see posts made in areas you currently have access to.


Messages - admin

หน้า: 1 2 3 [4] 5 6 ... 115
46
คุยกับทีมวิจัย / Re: ระบบ NAS บน SmartCafe Z
« เมื่อ: 12 มิถุนายน 2015, 23:31:25 »
วิธีการใช้งาน

เครื่อง Server

ทำการเพิ่ม user/pass เข้าสู่ระบบ พร้อมกับกำหนดขนาด พื้นที่ให้แต่ละ user

เข้าสู่เมนู NAS -> User



กดปุ่ม Add New User



กรอกรายละเอียดให้ครบ แล้วก็ แอด



เป็นอันเรียบร้อย 1 user


สำหรับเครื่อง Client

ติดตั้ง login NAS สคริป ใช้สำหรับ login เข้าใช้งาน



เมื่อ Login เข้าสู่ระบบ NAS ก็จะได้ Drive Z: ขึ้นมา ขนาดตามที่เรากำหนดไว้ใน Quota





สำหรับวิธี Logout ก็ใช้การคลิ๊กขวาที่ Drive Z: แล้วเลือก Disconnect ได้เลยครับ

47
คุยกับทีมวิจัย / ระบบ NAS บน SmartCafe Z
« เมื่อ: 11 มิถุนายน 2015, 08:21:12 »
[youtube]Z8jhGI32vWE[/youtube]

ตัวอย่าง ระบบ NAS หรือว่า เป็น drive สำหรับ ลูกค้า ไว้เก็บข้อมูล

โดยลูกค้าก็สามารถมาสมัครสมาชิก แล้วทางร้านก็สร้าง user/pass พร้อมกับกำหนดพื้นที่ (ผ่าน webif)

แล้วในเครื่องลูกก็จะมีโปรแกรม ในนี้ยังเป็น script แบบง่าย ๆ อยู่  ลูกค้าก็สามารถ login เข้าระบบ NAS

และก็จะมี drive ส่วนตัวมาไว้สำหรับเก็บข้อมูล  สามารถย้ายไปเล่นเครื่องไหนก็ได้  ข้อมูลก็จะไม่หาย

จะเก็บข้อมูลเซฟเกมส์  ข้อมูลหนัง  เกมส์เถื่อนที่ชอบโหลดมาเล่นบ่อยๆ หรือเอกสาร พิมพ์งานต่าง ๆ

เป็นต้น  เพิ่มความสะดวกให้กับลูกค้ามากขึ้น

48
การใช้งาน quota บน samba

http://xmodulo.com/samba-file-server-windows-clients.html

49
How to clear SAMBA passwords in Windows

Sometimes happens that Windows cache passwords for SAMBA shares.

One of method is to reboot or logout from Windows, but it is annoying and not comfortable.

To avoid reboot of Windows you can try these steps.

First method:

Open command line console (menu start -> run -> cmd (ctrl + shift +enter will open with Administrator privilages))

net use \\address_ip\share /del
eg.
net use \\192.168.1.1\photos /del

or try second method:

Open menu start and type:

rundll32.exe keymgr.dll, KRShowKeyMgr

50
โค๊ด: [Select]
wget http://download.opensuse.org/repositories/isv:ownCloud:community/xUbuntu_14.04/Release.key
sudo apt-key add - < Release.key  

โค๊ด: [Select]
sudo sh -c "echo 'deb http://download.opensuse.org/repositories/isv:/ownCloud:/community/xUbuntu_14.04/ /' >> /etc/apt/sources.list.d/owncloud.list"
sudo apt-get update
sudo apt-get install owncloud

http://ip-server/owncloud



กำหนด user/pass สำหรับ จัดการ

ก็เป็นอันเรียบร้อย  สามารถเพิ่ม user/pass อื่นๆ ได้



51
Linux Server System / isc-dhcp-server - multiple interfaces
« เมื่อ: 27 พฤษภาคม 2015, 20:46:59 »


ddns-update-style none;
log-facility local7;

subnet 192.168.1.0 netmask 255.255.255.0 {

        option routers                  192.168.1.1;
        option subnet-mask              255.255.255.0;
        option broadcast-address        192.168.1.255;
        option domain-name-servers      194.168.4.100;
        option ntp-servers              192.168.1.1;
        option netbios-name-servers     192.168.1.1;
        option netbios-node-type 2;
        default-lease-time 86400;
        max-lease-time 86400;

        host bla1 {
                hardware ethernet DD:GH:DF:E5:F7:D7;
                fixed-address 192.168.1.2;
        }
        host bla2 {
                hardware ethernet 00:JJ:YU:38:AC:45;
                fixed-address 192.168.1.20;
        }
}

subnet  10.152.187.0 netmask 255.255.255.0 {

        option routers                  10.152.187.1;
        option subnet-mask              255.255.255.0;
        option broadcast-address        10.152.187.255;
        option domain-name-servers      194.168.4.100;
        option ntp-servers              10.152.187.1;
        option netbios-name-servers     10.152.187.1;
        option netbios-node-type 2;

        default-lease-time 86400;
        max-lease-time 86400;

        host bla3 {
                hardware ethernet 00:KK:HD:66:55:9B;
                fixed-address 10.152.187.2;
        }
}

52
คุยกับทีมวิจัย / ทดสอบ Intel SSD 750 Series กับ SmartCafe Z
« เมื่อ: 21 พฤษภาคม 2015, 20:57:01 »


มาแล้วครับ Intel SSD 750 Series ขนาด 400G

ทำเอางงไปหลายรอบ ส่งคืน ไปรอบนึง เนื่องจากมองไม่เห็น ใช้งานไม่ได้  แต่จริงๆแล้วใช้งานได้ เนื่องจาก เทคโนโลยีมันใหม่

เลยมีขั้นตอนแตกต่าง ไปจาก การ์ดรุ่นก่อนๆ  มาเริ่มต้นกัน

ไม่ค่อยจะมีรูปเท่าไหร่ เนื่องจาก การ์ดอยู่ที่ลูกค้า ผมไม่มีบอร์ดจะทดสอบ เลยใช้วิธี Remote ไปทดสอบแทน

การทดสอบใช้ M/B Z97-PRO GAMER  เริ่มต้น ใส่ Slot PCIe 3.0



เริ่มต้น มองไม่เห็นการ์ด จำเป็นจะต้อง update BIOS ให้รองรับ NVMe  เป็น version 2103



ก็จะสามารถใช้งานได้ โดย Ubuntu 14.04.2 จะมองเห็นอุปกรณ์ NVMe อยู่ในรูปของ

/dev/nvmeX  จะเป็นชื่อของการ์ด และชื่อของ SSD ก็จะเป็น /dev/nvmeXnY  ประมาณนี้

ในการทดสอบจะเจอ Intel SSD 750 เป็น  /dev/nvme0n1

ลองทำการ fdisk -l /dev/nvme0n1

โค๊ด: [Select]
Disk /dev/nvme0n1: 400.1 GB, 400088457216 bytes
255 heads, 63 sectors/track, 48641 cylinders, total 781422768 sectors
Units = sectors of 1 * 512 = 512 bytes
Sector size (logical/physical): 512 bytes / 512 bytes
I/O size (minimum/optimal): 512 bytes / 512 bytes
Disk identifier: 0x00000000

Disk /dev/nvme0n1 doesn't contain a valid partition table

ทำการ format เป็น Linux แล้วก็ mount เป็น /cow

แล้วก็ทดสอบความเร็วอ่าน / เขียน ด้วยโปรแกรม Iozone3

โดยใช้คำสั่ง

iozone -I -a -s 256M -r 512 -r 1m -r 2m -r 4m -r 8m -r 16m -i 0 -i 1 -i 2 -f /cow/test

ได้ผลออกมาเป็น

โค๊ด: [Select]
                                                            random  random    bkwd   record   stride
              KB  reclen   write rewrite    read    reread    read   write    read  rewrite     read   fwrite frewrite   fread  freread
          262144     512 1041994 1005153  1130939  1131712 1125110  952250
          262144    1024 1015451 1045356  1556491  1559452 1572418 1046340
          262144    2048 1023464 1010629  1753683  1788487 1728474 1026695
          262144    4096  994541 1082157  2022262  2004543 2012527 1079105
          262144    8192  987218 1024436  2123466  2131114 2118026 1034804
          262144   16384 1078098 1037914  2126600  2166816 2157670 1048433

สรุปได้ว่า ความเร็วในการอ่าน อยู่ที่ประมาณ 2100MB/s และเขียนประมาณ 1000MB/s

*** สำหรับผู้ที่สนใจ Intel SSD 750 Series แนะนำว่า ให้ใช้กับบอร์ดที่รองรับ NVMe เท่านั้นนะครับ ***

53
โปรใหม่ อัพโหลดเยอะมาก

54
วิธีสร้าง Snapshot

เมื่อสร้าง /master   /cow  อัพ master เรียบร้อยแล้ว ต่อไปก็เป็นการสร้าง  /snapshot

ซึ่งสามารถทำได้ 4 แบบด้วยกัน คือ

1. mount hdd หรือ ssd  เป็น  /snapshot



2. สร้าง /snapshot ไว้ใน  hdd os

3. สร้าง /snapshot ไว้ใน  /master

4. สร้าง /snapshot  ไว้ใน  /cow

ก็สามารถเลือกได้จาก webif  เมนู Diskless --> Snapshot ได้เลย



โดยกดที่ปุ่ม Make Snapshot ก็เป็นอันเรียบร้อย



เมื่อสร้างเรียบร้อยก็จะแสดงรายละเอียดของ /snapshot ออกมา

55
เปิดให้ download วันศุกร์ที่ 15 นี้ครับ

อย่าลืมแวะเข้ามาติดตามนะครับ

56
วิธีการอัพ Master ขึ้น Server

ก่อนจะอัพ master ขึ้น Server จะต้องทำการทดสอบบูตแบบ Device ก่อนเสมอ ว่าสามารถบูตได้แล้ว

แล้วค่อยทำการอัพขึ้น Server ไปเก็บไว้ใน /master

ตรวจสอบจาก Disk Setting



ทำการตรวจสอบจะเห็นว่า  /dev/sdb  ขนาด 500G เป็น Master Windows ต้นฉบับ



และก็ /master เป็น RAID 200Gx2  ขนาดประมาณ 400G

เข้าไปเมนู  Diskless --> MASTER



ก็จะเห็นว่า  /dev/sdb  จะอยู่ใน master list สามารถนำมาใช้เป็น Master ได้เลย แต่เราจะทำการก๊อปไปไว้ใน

/master  โดย  

partition 1  drive c  ใช้ชื่อเป็น  /master/win7.img

partition 2  drive d  ใช้ชื่อเป็น   /master/games.img

ตรวจสอบ parition โดยกดที่ปุ่ม Info ดูก่อน ว่าถูกต้องไหม



เมื่อตรวจสอบเรียบร้อยแล้ว ก็สามารถใช้ หัวข้อ Copy Master ได้เลย



โดยระบุต้นทางเป็น   /dev/sdb    partition 1   ปลายทางเป็น   /master/win7.img



แล้วก็กดปุ่ม Copy  ระบบก็จะทำการ copy จากต้นฉบับ ไปไว้ใน folder /master



โดยตรง master list ก็จะแสดงว่า กำลัง copying สามารถไปดูสถานะจาก System Status ได้ว่า

ก๊อปปี้ใกล้เสร็จหรือยัง โดยดูจากการอ่านเขียน hdd เป็นต้น

เมื่อก๊อปปี้เสร็จแล้ว ก็จะได้ออกมาเป็น



และก็ทำกับ partition ที่สองเหมือนกัน ก็จะได้ออกมาเป็น



เมื่อเสร็จแล้วก็จะได้เป็น



ก็สามารถ ขยาย/ย่อ ขนาด ให้เหมาะสมกับขนาดของพื้นที่ /master และก็นำไปใช้งานได้

และก็สามารถถอด /dev/sdb ออกได้

57
วิธีการจัดการ Disk สำหรับ Diskless [CACHE]

ตัวอย่างที่สอง จะเป็นการทำ Cache สำหรับ MASTER ที่เป็นแบบ IMAGE

*** ก่อนจะทำ CACHE    จะต้องทำ MASTER ให้บูตได้สมบูรณ์แล้วเท่านั้น ถึงจะทำ CACHE ***

ดังนั้น ก่อนจะทำ CACHE ที่ MASTER เป็นแบบ IMAGE จะต้อง อัพ IMAGE ขึ้น /master ให้เรียบร้อย  ทดสอบบูต

อัพแพทเกมส์ให้ครบ เสร็จเรียบร้อยสมบูรณ์ก่อนเท่านั้น ถึงจะทำขั้นตอน flashcache  ไม่เช่นนั้น ประสิทธิภาพของ cache

จะลดลง

ตัวอย่างที่สอง

กำหนดเป็น  /dev/md0 คือ HDD 1TB x 2 ทำเป็น RAID0    mount เป็น /master  อัพเดทเรียบร้อย

แล้วก็  /dev/md1  SSD 200GB x 2 raid0 มาทำเป็น CACHE



Master เป็น RAID0



Mount เป็น /master อัพ master เรียบร้อยแล้ว  (สมมุติว่าอัพเรียบร้อยแล้ว)



ก่อนจะทำ cache ก็จะต้อง umount /master เดิมออกก่อน  เสร็จแล้ว ไปทำการสร้าง raid ของ SSD

ได้มาเป็น  /dev/md1



ต่อไปก็ทำการสร้าง Disk Cache  โดยใส่ HDD Device เป็น /dev/md0    SSD Device เป็น /dev/md1



ก็จะได้  /dev/mapper/cachedev มา



สามารถนำเป็น mount เป็น /master



ก็จะได้ flashcache ขนาด 2TB แต่ความเร็วเท่า SSD RAID0  แจ่มไปเลย



เป็นอันเสร็จการทำ CACHE ให้กับ MASTER แบบ IMAGE

58
วิธีการจัดการ Disk สำหรับ Diskless [CACHE]

ต่อไปเป็นตัวอย่างการทำ Flashcache  จุดประสงค์ของการทำ CACHE ก็คือ ต้นฉบับเป็น HDD ธรรมดา ซึ่งมีความเร็วช้า

และต้องการใช้ SSD มาช่วยเพิ่มความเร็ว   การทำ CACHE สามารถทำได้หลายแบบ ต้นฉบับ เป็นแบบ Device ก็ได้

หรือจะเป็นแบบ IMAGE หรือ RAID0 ก็ได้ ตัว CACHE ก็สามารถเป็น SSD หรือ SSD RAID ก็ได้เช่นกัน

*** ก่อนจะทำ CACHE    จะต้องทำ MASTER ให้บูตได้สมบูรณ์แล้วเท่านั้น ถึงจะทำ CACHE ***

ตัวอย่าง   /dev/sdb  เป็น HDD ขนาด 500GB ซึ่งทำ Master ไว้เรียบร้อยแล้ว บูตได้ อัพแพทเกมส์ครบสมบูรณ์แล้ว

/dev/sdc  เป็น SSD ขนาด 80GB ที่จะนำมาทำเป็น CACHE



ใช้หัวข้อ Disk Cache ในการทำ Cache



ระบุ  hdd device  และ ssd device ให้ถูกต้อง เสร็จแล้วกดปุ่มสร้าง



รอสักครุ่ระบบก็จะสร้างเป็น flashcache device ขึ้นมาให้ จะชื่อ  /dev/mapper/cachedev



ก็สามารถนำไปใช้งานเป็น MASTER ได้เลย  ในหัวข้อ Disk Format ก็จะกลายเป็น CACHE


59
วิธีการจัดการ Disk สำหรับ Diskless [RAID]

ต่อไปเป็นตัวอย่างการสร้าง RAID โดยมี Disk ทั้งหมด 6 ลูก ได้ทำการ wipe เป็น unformatted ครบทุกลูกแล้ว

กำหนดเป็น   /dev/sdb , /dev/sdc , /dev/sdd , /dev/sde   สร้างเป็น raid0  แล้ว mount เป็น /master

และ  /dev/sdf , /dev/sdg  สร้างเป็น raid0  แล้ว mount เป็น /cow  ก็สามารถทำได้ดังนี้



สามารถเลือก disk ที่จะทำ raid โดยการกดปุ่ม shift หรือ ctrl เลือก



เสร็จแล้วกดปุ่ม Create New RAID  ก็จะได้ RAID0 ตาม disk ที่ระบุไว้



อีกสองลูกที่เหลือ ก็ทำแบบเดียวกัน ก็จะได้ raid0 มาครบ สองชุด



เมื่อทำ RAID เรียบร้อยแล้ว ก็สามารถ Mount FileSystem ได้เลย  

โดย /dev/md0 mount เป็น /master  และ   /dev/md1  mount เป็น  /cow



เมื่อทำการ mount เรียบร้อย ก็จะได้เป็น



เป็นอันเรียบร้อย  ตรง Disk Format ลูกที่เป็น RAID ก็จะมี Type เป็น RAID ตามในรูป


60
วิธีการจัดการ Disk สำหรับ Diskless

หัวข้อนี้จะพูดถึงการจัดการ Disk ในหัวข้อ Setting --> Disk Setting

ซึ่งจะเกี่ยวกับ การ format / การทำ raid / การทำ flashcache และการ mount /master , /cow



เมื่อมี hdd ใหม่เพิ่มเข้ามา อาจจะมีข้อมูลค้างอยู่ อาจจะเป็น windows หรือเป็น linux ก็สามารถทำการ wipe (ล้างข้อมุล)

ก็จะทำให้ disk กลายเป็น disk เปล่า ๆ ว่าง ๆ (unformatted)

ก่อนจะทำการ mount เป็น /master หรือ /cow นั้น จะต้องทำการ format ก่อน หรือถ้าต้องการทำเป็น raid ก็ต้องสร้าง

raid ขึ้นมาก่อน  ถ้าเป็น disk เดี่ยวๆ ไม่มีการทำ raid ก็สามารถกดปุ่ม format  เสร็จแล้วก็สามารถไป mount ได้เลย

กำหนดเป็น /master หรือ /cow ได้เลย



เมื่อทำการ format แล้ว  Type ก็จะกลายเป็น Linux  ซึ่งสามารถนำไป mount ได้ในหัวข้อ  Mount FileSystem



เช่น  mount  /dev/sdb  เป็น  /master   และ  mount   /dev/sdc   เป็น  /cow



สำหรับ /cow ก็ทำแบบเดียวกัน  ก็จะได้



ก็เป็นอันเรียบร้อย

หน้า: 1 2 3 [4] 5 6 ... 115